วันพฤหัสบดี ที่ 6 ธันวาคม 2555
สัปดาห์ที่ 6
การเรียนการสอน
วันนี้เรียน
และตอบคำถามอาจารย์
และท้ายชั่วโมงครูก็ได้มอบหมายงานให้กับนักศึกษาไปทำกันเป็นกลุ่มๆ กลุ่มละ 6 คน
แล้วก็ให้นำกล่องมาคนละกล่อง แล้วก็จับกลุ่มๆ สืบคน เพื่อให้นำกล่องที่เตรียมมา
มาแปะติดต่อกัน เป็นรูปอะไรก็ได้ตามความคิดของนักศึกษาแต่ละคน
แฟ้มสะสมงานในรายวิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันอาทิตย์ที่ 2 ธันวาคม พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 29 พฤศจิกายน 2555
สัปดาห์ที่ 5
การเรียนการสอน
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับความหมายของคำว่ามาตรฐานว่าหมายถึงอะไร ต่อจากนั้นครูก็ให้จับคู่นำเสนองานกลุ่มต่อจากสัปดาห์ที่แล้วที่ครูได้มอบหมายไว้ โดยให้แต่ละคู่ออกมานำเสนอหน้าห้องให้เพื่อนๆฟัง แล้วร่วมกันคิดวิคราะห์ในหัวข้อที่เพื่อนนำเสนอว่าเป็นอย่างไร ควรปรับปรุง หรือเพิ่มเติมส่วนไหนเข้าไป เป็นต้น
สัปดาห์ที่ 5
การเรียนการสอน
วันนี้อาจารย์สอนเกี่ยวกับความหมายของคำว่ามาตรฐานว่าหมายถึงอะไร ต่อจากนั้นครูก็ให้จับคู่นำเสนองานกลุ่มต่อจากสัปดาห์ที่แล้วที่ครูได้มอบหมายไว้ โดยให้แต่ละคู่ออกมานำเสนอหน้าห้องให้เพื่อนๆฟัง แล้วร่วมกันคิดวิคราะห์ในหัวข้อที่เพื่อนนำเสนอว่าเป็นอย่างไร ควรปรับปรุง หรือเพิ่มเติมส่วนไหนเข้าไป เป็นต้น
ความรู้เพิ่มเติมเกี่ยวกับมาตรฐาน
มาตรฐานวิชาชีพครู
ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา คือ ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสร้างความเชื่อมั่น
ศรัทธาให้แก่ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่าเป็นบริการที่มีคุณภาพ ตอบสังคมได้ว่าการที่กฎหมายให้ความสําคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกําหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุม นั้น เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่มีลักษณะเฉพาะ ต้องใช้ความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กําหนดให้มีมาตรฐานวิชาชีพ 3 ด้าน ประกอบด้วย
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ข้อกําหนดสําหรับผู้ที่จะเข้ามาประกอบวิชาชีพ จะต้องมีความรู้และมีประสบการณ์วิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพ จึงจะสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้
2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพให้เกิดผลเป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนด พร้อมกับมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ ทั้งความชํานาญเฉพาะด้านและความชํานาญตามระดับคุณภาพของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรืออย่างน้อยจะต้องมีการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กําหนดว่ามีความรู้ ความสามารถ และความชํานาญ เพียงพอที่จะดํารงสถานภาพของการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพต่อไปได้หรือไม่ นั่นก็คือการกําหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องต่อใบอนุญาตทุกๆ 5 ปี
3. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ข้อกําหนดเกี่ยกับการประพฤติตนของ ผู้ประกอบวิชาชีพ โดยมีจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแนวทางและข้อพึงระวังในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อดํารงไว้ซึ่งชื่อเสียง ฐานะ เกียรติ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภาจะกําหนดเป็นข้อบังคับต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทําให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นจนได้รับการร้องเรียนถึงคุรุสภาแล้ว ผู้นั้นอาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(1) ยกข้อกล่าวหา
(2) ตักเตือน
(3) ภาคทัณฑ์
(4) พักใช้ใบอนุญาตมีกําหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี
(5) เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (มาตรา 54)
สํานักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ดําเนินการศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสํารวจความคิดเห็น จัดประชุมสัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ ประชุมรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งด้านการผลิต การพัฒนา และการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อนํามากําหนดเป็นสาระสําคัญของมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการคุรุสภาในคราวประชุมครั้งที่ 5/2548 วันที่ 21 มีนาคม 2548 และที่ประชุม คณะกรรมการคุรุสภาครั้งที่ 6/2548 วันที่ 18 เมษายน 2548 ได้อนุมัติให้ออกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญของผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งจะต้องประพฤติปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลดีต่อผู้รับบริการ อันถือเป็นเป้าหมายหลักของการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ให้สามารถนําไปใช้ในการประกอบวิชาชีพให้สมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูงและได้รับการยอมรับยกย่องจากสังคม
แหล่งอ้างอิง : http://onumpai.multiply.com/journal/item/3
ความหมายของมาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษา คือ ข้อกําหนดเกี่ยวกับคุณลักษณะ และคุณภาพที่พึงประสงค์ในการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องประพฤติปฏิบัติตาม เพื่อให้เกิดคุณภาพในการประกอบวิชาชีพ สามารถสร้างความเชื่อมั่น
ศรัทธาให้แก่ผู้รับบริการจากวิชาชีพได้ว่าเป็นบริการที่มีคุณภาพ ตอบสังคมได้ว่าการที่กฎหมายให้ความสําคัญกับวิชาชีพทางการศึกษา และกําหนดให้เป็นวิชาชีพควบคุม นั้น เนื่องจากเป็นวิชาชีพที่มีลักษณะเฉพาะ ต้องใช้ความรู้ทักษะ และความเชี่ยวชาญในการประกอบวิชาชีพ ตามพระราชบัญญัติสภาครูและบุคลากรทางการศึกษา พ.ศ. 2546 มาตรา 49 กําหนดให้มีมาตรฐานวิชาชีพ 3 ด้าน ประกอบด้วย
1. มาตรฐานความรู้และประสบการณ์วิชาชีพ หมายถึง ข้อกําหนดสําหรับผู้ที่จะเข้ามาประกอบวิชาชีพ จะต้องมีความรู้และมีประสบการณ์วิชาชีพเพียงพอที่จะประกอบวิชาชีพ จึงจะสามารถขอรับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพเพื่อใช้เป็นหลักฐานแสดงว่าเป็นบุคคลที่มีความรู้ ความสามารถ และมีประสบการณ์พร้อมที่จะประกอบวิชาชีพทางการศึกษาได้
2. มาตรฐานการปฏิบัติงาน หมายถึง ข้อกําหนดเกี่ยวกับการปฏิบัติงานในวิชาชีพให้เกิดผลเป็นไปตามเป้าหมายที่กําหนด พร้อมกับมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกิดความชํานาญในการประกอบวิชาชีพ ทั้งความชํานาญเฉพาะด้านและความชํานาญตามระดับคุณภาพของมาตรฐานการปฏิบัติงาน หรืออย่างน้อยจะต้องมีการพัฒนาตามเกณฑ์ที่กําหนดว่ามีความรู้ ความสามารถ และความชํานาญ เพียงพอที่จะดํารงสถานภาพของการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพต่อไปได้หรือไม่ นั่นก็คือการกําหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องต่อใบอนุญาตทุกๆ 5 ปี
3. มาตรฐานการปฏิบัติตน หมายถึง ข้อกําหนดเกี่ยกับการประพฤติตนของ ผู้ประกอบวิชาชีพ โดยมีจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นแนวทางและข้อพึงระวังในการประพฤติปฏิบัติ เพื่อดํารงไว้ซึ่งชื่อเสียง ฐานะ เกียรติ และศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ ตามแบบแผนพฤติกรรม ตามจรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภาจะกําหนดเป็นข้อบังคับต่อไป หากผู้ประกอบวิชาชีพผู้ใดประพฤติผิดจรรยาบรรณของวิชาชีพทําให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลอื่นจนได้รับการร้องเรียนถึงคุรุสภาแล้ว ผู้นั้นอาจถูกคณะกรรมการมาตรฐานวิชาชีพวินิจฉัยชี้ขาดอย่างใดอย่างหนึ่ง ดังต่อไปนี้
(1) ยกข้อกล่าวหา
(2) ตักเตือน
(3) ภาคทัณฑ์
(4) พักใช้ใบอนุญาตมีกําหนดเวลาตามที่เห็นสมควร แต่ไม่เกิน 5 ปี
(5) เพิกถอนใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ (มาตรา 54)
สํานักงานเลขาธิการคุรุสภาได้ดําเนินการศึกษาวิเคราะห์เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้องสํารวจความคิดเห็น จัดประชุมสัมมนา ประชุมเชิงปฏิบัติการ ประชุมรับฟังความคิดเห็นของผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง ทั้งด้านการผลิต การพัฒนา และการประกอบวิชาชีพ รวมทั้งผู้ทรงคุณวุฒิ เพื่อนํามากําหนดเป็นสาระสําคัญของมาตรฐานวิชาชีพ ซึ่งได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการคุรุสภาในคราวประชุมครั้งที่ 5/2548 วันที่ 21 มีนาคม 2548 และที่ประชุม คณะกรรมการคุรุสภาครั้งที่ 6/2548 วันที่ 18 เมษายน 2548 ได้อนุมัติให้ออกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพเป็นที่เรียบร้อยแล้ว
มาตรฐานวิชาชีพทางการศึกษาเป็นเครื่องมือสําคัญของผู้ประกอบวิชาชีพ ซึ่งจะต้องประพฤติปฏิบัติ เพื่อให้เกิดผลดีต่อผู้รับบริการ อันถือเป็นเป้าหมายหลักของการประกอบวิชาชีพทางการศึกษา ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพจะต้องศึกษาเพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้อง ให้สามารถนําไปใช้ในการประกอบวิชาชีพให้สมกับการเป็นวิชาชีพชั้นสูงและได้รับการยอมรับยกย่องจากสังคม
แหล่งอ้างอิง : http://onumpai.multiply.com/journal/item/3
วันอาทิตย์ที่ 25 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 22 พฤศจิกายน 2555
สัปดาห์ที่ 4
การเรียนการสอน
อาจารย์ได้อธิบายถึงขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ซึ่งคุณนิตยาได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
1. การนับ
2. ตัวเลข แทนค่าจำนวน เรียงลำดับ
3. การจับคู่ จะใช้ทักษะการสังเกต เช่น จับคู่เซต
4. การจัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ ใช้การประมาณ ดูด้วยตา มากกว่า > < น้อยกว่า
6. การจัดลำดับ จะหาค่า - เปรียบเทียบ - เรียงลำดับ - เอาตัวเองมากำกับ
7. รูปทรงและเนื้อที่ มีความจุเกิดขึ้น
8. การวัด หาค่า ปริมาณ จำนวน
9. เซต
10. เศษส่วน ต้องให้เด็กรู้จำนวนเต็ม ( รู้ส่วนที่เต็มของทั้งหมด ) แล้วแบ่งครึ่ง
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
หลังจากนั้นอาจารย์ให้จับคู่สองคน แล้วสั่งงานให้ออกแบบการสอนคณิตศาสตร์โดยมี 12 ข้อข้างต้นที่กล่าวมา โดยให้ช่วยกันคิดปรึกษากันสองคน ให้ส่งภายในคาบเรียน
บรรยากาศในห้องวันดีกำลังดี ไม่หนาวไม่ร้อน เพื่อนๆก็ตั้งใจฟังอาจารย์ มีส่วนน้อยที่คุยแข่งกับอาจารย์บ้าง
สัปดาห์ที่ 4
การเรียนการสอน
อาจารย์ได้อธิบายถึงขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัย ซึ่งคุณนิตยาได้ให้ความหมายไว้ ดังนี้
1. การนับ
2. ตัวเลข แทนค่าจำนวน เรียงลำดับ
3. การจับคู่ จะใช้ทักษะการสังเกต เช่น จับคู่เซต
4. การจัดประเภท
5. การเปรียบเทียบ ใช้การประมาณ ดูด้วยตา มากกว่า > < น้อยกว่า
6. การจัดลำดับ จะหาค่า - เปรียบเทียบ - เรียงลำดับ - เอาตัวเองมากำกับ
7. รูปทรงและเนื้อที่ มีความจุเกิดขึ้น
8. การวัด หาค่า ปริมาณ จำนวน
9. เซต
10. เศษส่วน ต้องให้เด็กรู้จำนวนเต็ม ( รู้ส่วนที่เต็มของทั้งหมด ) แล้วแบ่งครึ่ง
11. การทำตามแบบหรือลวดลาย
12. การอนุรักษ์หรือการคงที่ด้านปริมาณ
หลังจากนั้นอาจารย์ให้จับคู่สองคน แล้วสั่งงานให้ออกแบบการสอนคณิตศาสตร์โดยมี 12 ข้อข้างต้นที่กล่าวมา โดยให้ช่วยกันคิดปรึกษากันสองคน ให้ส่งภายในคาบเรียน
บรรยากาศในห้องวันดีกำลังดี ไม่หนาวไม่ร้อน เพื่อนๆก็ตั้งใจฟังอาจารย์ มีส่วนน้อยที่คุยแข่งกับอาจารย์บ้าง
วันเสาร์ที่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดี ที่ 15 พฤศจิกายน 2555
สัปดาห์ที่ 3
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 3 คน เพื่อศึกษา และสรุปความหมายของคณิตศาสตร์ในงานที่อาจารณ์ได้มอบหมายให้ไปหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
ซึ่งการเรียนในวันนี้ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้และเกิดทักษะในด้านการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุด การอ้างอิงสิ่งที่ค้นคว้ามาได้อย่างถูกต้อง และการสรุปความ
บรรยากาศในชั้นเรียนดีมาก เพื่อนๆตั้งใจทำงานที่อาจารณ์มอบหมายให้อย่างตั้งใจ
สัปดาห์ที่ 3
วันนี้อาจารย์ได้ให้นักศึกษาเข้ากลุ่ม กลุ่มละ 3 คน เพื่อศึกษา และสรุปความหมายของคณิตศาสตร์ในงานที่อาจารณ์ได้มอบหมายให้ไปหาในสัปดาห์ที่ผ่านมา
ซึ่งการเรียนในวันนี้ทำให้ดิฉันได้เรียนรู้และเกิดทักษะในด้านการสืบค้นข้อมูลจากห้องสมุด การอ้างอิงสิ่งที่ค้นคว้ามาได้อย่างถูกต้อง และการสรุปความ
บรรยากาศในชั้นเรียนดีมาก เพื่อนๆตั้งใจทำงานที่อาจารณ์มอบหมายให้อย่างตั้งใจ
วันจันทร์ที่ 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดี ที่ 8 พฤศจิกายน 2555
สัปดาห์ที่ 2
วันนี้อาจารย์อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องของการแบ่งกลุ่ม เรื่องตัวเลข การจัดสื่อการเรียนรู้ที่จับต้องได้
งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาไปห้องสมุดแล้วหาหนังสือที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ให้เขียนชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ เลขหมู่หนังสือมาด้วย และหาความหมายของคณิตศาสตร์ จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์/ เป้าหมาย วิธีการสอนคณิตศาสตร์ และขอบข่ายของคณิตศาสตร์ นำมาส่งในสัปดาห์ถัดไป
บรรยากาศในห้องเรียนวันนี้ เพื่อนๆตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี
สัปดาห์ที่ 2
วันนี้อาจารย์อธิบายรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องของการแบ่งกลุ่ม เรื่องตัวเลข การจัดสื่อการเรียนรู้ที่จับต้องได้
งานที่ได้รับมอบหมาย ให้นักศึกษาไปห้องสมุดแล้วหาหนังสือที่เกี่ยวกับคณิตศาสตร์ ให้เขียนชื่อหนังสือ ชื่อผู้แต่ง ปีที่พิมพ์ เลขหมู่หนังสือมาด้วย และหาความหมายของคณิตศาสตร์ จุดมุ่งหมายของการสอนคณิตศาสตร์/ เป้าหมาย วิธีการสอนคณิตศาสตร์ และขอบข่ายของคณิตศาสตร์ นำมาส่งในสัปดาห์ถัดไป
บรรยากาศในห้องเรียนวันนี้ เพื่อนๆตั้งใจเรียนเป็นอย่างดี
วันศุกร์ที่ 2 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555
วันพฤหัสบดีที่ 1 พฤศจิกายน 2555
สัปดาห์ที่ 1
วันนี้เป็นวันแรกของการเรียนการสอน ซึ่งอาจารย์ได้อธิบายถึงชื่อรายวิชา และสิ่งที่จะเรียนกันในรายวิชานี้ วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย อาจารย์ได้แยกออกเป็น 3 คำ คือ การจัดประสบการณ์ คณิตศาสตร์ และเด็กปฐมวัย
การรับรู้สิ่งใหม่ๆจะไปสะสมกับประสบการณ์เดิมจะทำให้เราเกิดการเรียนรู้
บรรยาการในห้องเรียนดีมาก นักศึกษาตั้งใจฟังเมื่ออาจารณ์ให้ความรู้ อากาศดีไม่หนาวหรือร้อนจนเกินไป แต่เครื่องมือเทคโนโลยีในห้องไม่มีความพร้อม
สัปดาห์ที่ 1
วันนี้เป็นวันแรกของการเรียนการสอน ซึ่งอาจารย์ได้อธิบายถึงชื่อรายวิชา และสิ่งที่จะเรียนกันในรายวิชานี้ วิชา การจัดประสบการณ์คณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย อาจารย์ได้แยกออกเป็น 3 คำ คือ การจัดประสบการณ์ คณิตศาสตร์ และเด็กปฐมวัย
การรับรู้สิ่งใหม่ๆจะไปสะสมกับประสบการณ์เดิมจะทำให้เราเกิดการเรียนรู้
บรรยาการในห้องเรียนดีมาก นักศึกษาตั้งใจฟังเมื่ออาจารณ์ให้ความรู้ อากาศดีไม่หนาวหรือร้อนจนเกินไป แต่เครื่องมือเทคโนโลยีในห้องไม่มีความพร้อม
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)